ความสำคัญของการทำสัญญาเป็นหนังสือ
การที่เพื่อน ๆ จะทำธุรกิจอะไรสักอย่างการตกลงทำสัญญาค้าขายกับคนอื่นย่อมเป็นเรื่องที่ต้องทำอยู่แล้วเป็นกิจวัตร และแน่นอนในบางครั้งการผิดสัญญาที่ตกลงกันไว้ย่อมเป็นเรื่องที่เลี่ยงไม่ได้ หากเป็นสัญญาที่ไม่ได้ก่อให้เกิดความเสียหายมากก็ถือว่าโชคดีไป แต่ถ้าเป็นสัญที่มีมูลค่าสูง ๆ เมื่อมีการผิดสัญญาย่อมต้องมีการฟ้องร้องดำเนินคดีกันวุ่นวาย วันนี้ผมจะมาเล่าให้เพื่อน ๆ ฟังว่าการทำสัญญาเราควรที่จะทำเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบธุรกิจของเพื่อน ๆ ต่อไป
สัญญาต้องจำเป็นต้องเป็นหนังสือหรือไม่ ?
ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่าโดยทั่วไปแล้ว สัญญาสามารถเกิดขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องทำเป็นหนังสือ
หากคู่สัญญามีความต้องการที่ถูกต้องตรงกันแล้วย่อมเกิดเป็นสัญญาได้ในทันที มีเพียงสัญญาบางชนิดเท่านั้นที่กฎหมายกำหนดว่าต้องทำเป็นหนังสือ
สัญญาประเภทนี้หากเราไม่ได้ทำเป็นหนังสือแล้วก็จะมีผลแตกต่างกันไปเช่น เป็นโมฆะ หรือไม่สามารถนำมาฟ้องร้องดำเนินคดีกันได้
'สามารถขอคำปรึกษาฟรี ได้ที่นี่ คลิกเลย!'
Q: มีการยืมเงินและไม่คืน ไม่มีสัญญา ควรทำอย่างไรต่อดีค่ะ
Q: ไม่มีสัญญาจ้าง นายจ้างไม่จ่ายเงินเดือนที่ค้างอยู่ควรทำยังไง
Q: ขอคืนค่ามัดจำ ที่ไม่มีสัญญาได้หรือไม่
เหตุผลหลักที่ทำไมคุณต้องทำสัญญาเป็นหนังสือ
อย่างไรก็ดีไม่ว่าสัญญานั้นกฎหมายกำหนดว่าต้องทำเป็นหนังสือไม่ แต่ในทางปฏิบัติแล้วเมื่อมีการฟ้องร้องดำเนินคดีเกิดขึ้น เราก็ต้องมีหลักฐานไปแสดงต่อศาล หากเรามีเพียงคำกล่าวอ้างลอย ๆ ข้ออ้างเราย่อมขาดน้ำหนักที่ศาลจะรับฟัง แต่หากเรามีหนักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรอีกทั้งมีลายมือชื่อคู่สัญญาแล้ว ข้ออ้างของเราย่อมมีน้ำหนักที่จะรับฟังได้ ดังนั้นโดยสรุปหากเป็นสัญญาที่มีมูลค่าสูง
'เรื่องการกู้ยืมเงินจำเป็นต้องมีหลักฐานหรือไม่??'
สรุป : การทำสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรจึงสำคัญเป็นอย่างยิ่งนะครับ
ปรึกษาทนายตัวจริง
สอบถามได้ทุกเรื่องราวทางกฎหมาย
"โดนโกง โดนประจาน" ปรึกษาได้ในคลิกเดียว
สมัครเป็นทนายออนไลน์
แพล็ทฟอร์มรวบรวม
งานกฎหมายจากทั่วประเทศ



